วันพฤหัสบดีที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554

ว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊ว


ว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊ว
Text size: 
By กองบรรณาธิการเว็บไซต์
Bookmark and Share

ว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊วว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊วว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊วว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊ว
ว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊วว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊วว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊วว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊ว
ว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊วว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊วว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊วว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊ว
ว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊วว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊วว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊วว่าด้วยเรื่องของฮวดกั๊ว
     ก่อนอื่นต้องรู้ความหมายของคำว่าฮวดกั๊วกันก่อนน่ะครับ ฮวดกั๊วแปลจริงๆโดยรวมมีหน้าที่หลัก 2 อย่าง คือ เป็นผู้ทำพิธี และเป็นล่ามแปลคำพูดของพระจีนที่พูดออกมา ซึ่งจะพบเห็นตามศาลเจ้าได้ทั่วไปโดยจะมี 2 ระดับคือ 

          1.ฮวดกั๊วใหญ่ เป็นฮวดกั๊วที่ทำพิธีที่มีอำนาจมากที่สุดในศาลเจ้าแต่ไม่ใช่ว่าจะสั่งพระแบบ ไต้หวันทำ
เพราะคนภูเก็ตจะให้ความเคารพกับพระไม่ได้ทำตัวเป็นเจ้านายพระแบบ ไต้หวัน
          2.เจ้าหน้าที่ฮวดกั๊ว ก็คือฮวดกั๊วที่คอยช่วยเหลือสิ่งต่างๆคอยแบ่งเบาภาระของฮวดกั๊วใหญ่
          3.ฮวดกั๊วทั่วไป โดยมากจะเป็นพี่เลี้ยงพระมากกว่า

     ซึ่งการเรียนฮวดกั๊วนั้นมีกฏเหล็กอยู่หลายข้อด้วยกัน ซึ่งแต่ละอย่างนั้นจะต้องได้รับอนุญาตจากพ่อแม่ก่อนเท่านั้น เช่นการจะเรียนได้พ่อแม่ต้องอนุญาต ถึงพ่อแม่จะอนุญาตถ้าเรียนกับคนที่วิชาแรงๆ ก็จะเรียนไม่ได้เช่นกัน การเป็นฮวดกั๊วนั้นใช่ว่าจะออกจิ่วอย่างเดียว ก็สามารถเชิญพระได้ ทำอะไรได้ ถ้าจะทำได้ ต้องมอบมือก่อนมิเช่นนั้นก็จะเหมือนเราร้องเพลง ไม่มีความศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเมื่อมอบมือแล้วก็สามารถใช้ อ่อเหล่งและฮวดโซะได้ และที่พบฮวดกั๊วเขียนเหล่ง แกะฮวดโซะขาย ก็ต้องมอบมืออีกเช่นกัน แต่ไม่ใช่มอบรวมกับใช่เหล่ง ต้องให้เล่าเอี๋ยมอบมือเขียนเหล่งและมอบมือทำฮวดโซะอีกเช่นกัน ซึ่งคนที่ไม่ใช่ฮวดกั๊วก็จะทำไม่ได้

ฮวดกั๊วและม้าทรงนั้นจะมีหลักการปฏิบัติตัวที่คล้ายคลึงกัน จะว่า เหมือนกันก็ได้มีดังนี้
          1.พยายามกินเจทุกโฉ่ยอิดจับหง่อ (วันที่ 1 และ 15 ของเดือนจีนหรือวันพระจีน)
          2.หมั่นซงเก้งเรื่อยๆเพื่อเสริมบารมีตัวเอง
          3.ไม่กินของเหลือจากคนอื่น(ยกเว้นพ่อแม่)
          4.ไม่กินอาหารหรือน้ำหรือขนมที่อยู่ใต้ชายคาเดียวกับศพ(หรือตามงานศพในวัดจะพบว่า กับข้าวจะตั้งศาลาเดียวกันกับศพถ้าแบบนั้นกินไม่ได้ ถึงจะเอาออกมานอกชายคาแล้วก็กินไม่ได้ เพราะผ่านเข้าไปในชายคาเดียวกันกับศพมาแล้ว)
          5.ไม่กินของไหว้กับข้าวหรือของเซ่นไหว้บรรพบุรุษหรือเซ่นไหว้เจ้าที่ เพราะถ้าเราไปกินของชนชั้นเดียวกับเขาแล้วต่อไปเขาจะตีตัวเสมอเรา ซึ่งกรณีนี้รวมถึงอาหารที่เขา โข้กุ้นก็กินไม่ได้เช่นกัน นอกนั้นถ้าเป็นของไหว้เจ้า กินได้ครับ
          6.ลด ละ เลิก เกี่ยวกับการพูดจาหยาบคายหรือส่อแววลามก พวกร่วมเพศกับบุพการี หรือ คำไม่เป็นมงคล แต่ถ้า มึง หรือ กู นั้น ยกเว้นครับเพราะว่าสมัยก่อนเขาพูดกันอยู่แล้ว แต่สมัยนี้ขอแนะนำเรียก หลู้แทนมึง อั๊วะว่าแทนกูดีกว่าครับ
          7.ไม่คลุกคลีกับพวกวิชาดำ คุณไสย์หรือพวกป่าช้า 

วันพุธที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2554

เกาะปันหยี ณ อ่าวพังงา

ท่องเที่ยว เกาะปันหยี ณ อ่าวพังงา

ท่องเที่ยว เกาะปันหยี ณ อ่าวพังงา

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี
เกาะปันหยี

เกาะปันหยี
เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี
เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม
ขอขอบคุณภาพประกอบจาก คุณ whymephoto, คุณ wandee007, คุณ pookiefoto, Pantip.com โดย คุณ ด.ช.ข้าวห่อไข่, คุณ จังเกิ้ล และ คุณ Filmlandscape

เหนื่อยไหม...เบื่อไหม...อยากออกไปเที่ยวกันไหม..ถ้าเพื่อน ๆ กำลังตกอยู่ในภาวะอารมณ์เช่นนี้ เตรียมตัวให้พร้อม เก็บกระเป๋า สะพายกล้อง เพราะกระปุกดอทคอมจะพาเพื่อน ๆ ไปลัลลาท่องเที่ยว เพื่อสัมผัสกับวิถีชีวิตชุมชนเก่าแก่ เหนือผืนทะเลในอ่าวพังงา อย่าง "เกาะปันหยี" จังหวัดพังงา...กัน

เกาะปันหยี เป็นเกาะเล็ก ๆ มีที่ราบประมาณ 1 ไร่ มีบ้านเรือน 300 หลังคา มีประชากรประมาณ 4,000 คน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของที่ว่าการอำเภอเมืองพังงา ประมาณ 7 กิโลเมตร มีลักษณะเป็นเขาหินปูนสูงชะลูด แวดล้อมด้วยเกาะน้อยใหญ่


เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี


ย้อนหลังกลับไปนับร้อยปี บรรพบุรุษของคนปันหยี ซึ่งเป็นครอบครัวชาวชวา จำนวน 3 ครอบครัว อพยพมาจากอินโดนีเซียโดยเรือใบ 3 ลำ เพื่อค้นหาแหล่งทำกินที่ดีกว่าเดิม พวกเขาตกลงกันว่าหากใครพบที่ทำกินก่อน ให้สื่อสัญญาณด้วยการปักธงที่ยอดเขา และในที่สุดครอบครัว "โต๊ะบาบู" ก็พบเกาะหนึ่งก่อนใคร จึงขึ้นไปปักธงไว้ที่ยอดเขา และตั้งชื่อเกาะนั้นว่า "ปันหยี" ที่แปลว่า "ธง"

พื้นที่ส่วนใหญ่ของ เกาะปันหยี ตั้งอยู่ในทะเลอ่าวพังงา และบริเวณป่าชายเลนอุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา มีหมู่บ้านจำนวน 4 หมู่บ้าน คือ บ้านท่าด่าน ตั้งอยู่บริเวณน้ำตื้นในอ่าวพังงา, เกาะปันหยี ตั้งอยู่บริเวณน้ำตื้นในอ่าวพังงา, เกาะไม้ไผ่ ตั้งอยู่บนเกาะและป่าชายเลนอ่าวพังงา และเกาะหมากน้อย ตั้งอยู่บนเกาะในอ่าวพังงา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และประมาณร้อยละ 2 นับถือศาสนาอื่น ๆ และส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านประมง เป็นหลัก นอกจาก นี้ยังมีการประกอบอาชีพ เช่น ทำสวนยางพารา สวนมะพร้าว อาชีพรับราชการ การค้าขายและรับจ้าง


เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี


และด้วยพื้นที่เป็นแผ่นดินอยู่น้อยนิดนี้ ชาว เกาะปันหยี ใช้เป็นที่ตั้งของศูนย์กลางหมู่บ้านและศาสนา ส่วนบ้านเรือน ร้านค้า และโรงเรียนตั้งอยู่ในน้ำ เดิมทีมีทางเดินเชื่อมถึงกันด้วยสะพานไม้ ก่อนจะเปลี่ยนเป็นสะพานปูนในปัจจุบัน เวลาน้ำขึ้น "หมู่บ้านปันหยี" จึงแลดูเหมือนหมู่บ้านลอยน้ำ แต่พอน้ำลงจะเห็นว่าบ้านนับร้อยหลังนั้น ตั้งอยู่บนเสาที่ปักในเลนมาตั้งแต่อดีต


เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี


ด้านทิศตะวันออกของ เกาะปันหยี จะมีร้านค้าเรียงรายตลอดสองทางเดิน แต่หากต้องการเห็นวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้าน ก็ต้องเดินเลยย่านการค้าไปทางทิศตะวันตก และจะได้พบเห็นศาลาประชาคม สภากาแฟ ร้านค้าสำหรับชาวบ้าน ร้านตัดผม โรงเรียน และมัสยิด ที่อยู่คู่กับชุมชนกลางทะเลมาตั้งแต่อดีต


เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

ทั้งนี้ ชุมชนชาวมุสลิมที่ เกาะปันหยี เป็นกลุ่มที่มีวิถีชีวิตภายใต้บริบทวัฒนธรรมอิสลาม และอาชีพประมง อาศัยอยู่ร่วมกันในพื้นที่ที่จำกัดด้านนิเวศน์และโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งทำให้ชุมชมสนิทสนมใกล้ชิดกัน อีกทั้งกาลเวลาได้ผูกพันผู้คนทั้งเกาะให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น


เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี


แปลกไหม? หากเด็ก ๆ บน เกาะปันหยี ไม่เคยเล่นดิน ไม่รู้จักไม้กวาด เพราะที่ เกาะปันหยี ไม่มีฝุ่นไม่มีชายหาดและทรายที่สวยงาม แต่ที่ เกาะปันหยี มีแหล่งชมพระอาทิตย์ขึ้นและตกที่สวยงามไม่แพ้ที่ไหน ๆ อีกทั้งวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของผู้คนในสังคม เกาะปันหยี ยังเป็นภูมิคุ้มกันให้ลูกหลานปลอดจากอบายมุข โดยบน เกาะปันหยี ไม่มีเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ ซึ่งไม่ควรที่จะมีใครนำเข้าไปด้วย และถึงแม้จะอยู่ไกลจากฝั่ง แต่ชาวปันหยีก็มีไฟฟ้าใช้เป็นของตัวเอง

เกาะปันหยี

เกาะปันหยี

อย่างไรก็ตาม นอกจากไปสัมผัสกับวิถีชีวิตของ หมู่บ้านเกาะปันหยี บ้านกลางน้ำของชุมชนมุสลิม ที่ถูกสร้างอยู่กลางทะเลโดยไม่มีพื้นดินมานานกว่า 200 ปี เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวจากทั่วโลก แวะมาเยี่ยมชมตลอดปีแล้ว ใกล้ ๆ กันยังมีสถานที่ท่องเที่ยวให้ได้ไปชมกัน เช่น ภูเขาเขียน ซึ่งมีภาพเขียนโบราณเป็นรูปคนและสัตว์ต่าง ๆ เช่น ลิง ปลาโลมา จระเข้ ฯลฯ อยู่ภายในถ้ำ เชื่อกันว่าเป็นภาพเขียนสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ก่อนถึงตัวเกาะปันหยีประมาณ 400 เมตร อยู่บริเวณภูเขา ชาวบ้านเลยเรียกกันว่า "เขาเขียน" และ ถ้ำทะลุ มีเป็นลักษณะคล้ายเกาะตั้งอยู่ในทะเล มีช่องว่างระหว่างกลางเรียกว่า ถ้ำทะลุ นักท่องเที่ยวสามารถพายเรือซีแคนนู ชมบริเวณโดยรอบได้

และนี่คือ เกาะปันหยี หมู่บ้านกลางทะเล ณ อ่าวพังงา

เกาะปันหยี

ท่าเรือ


การเดินทาง

อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 8 กิโลเมตร จากทางหลวงหมายเลข 4 จะมีทางแยกซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 4144 เข้าไปประมาณ 4 กิโลเมตร จะถึงท่าเรือท่าด่านศุลกากร สามารถเช่าเรือจากบริเวณท่าเรือได้ หรือเดินทางโดยรถสองแถว มีรถออกจากตัวเมืองไปท่าเรือท่าด่านศุลกากรทุกวัน

การเช่าเรือล่องอ่าวพังงา มีเรือบริการนำเที่ยวออกจากท่าเรือต่าง ๆ ดังนี้…

ท่าเรือท่าด่านศุลการกร ใกล้โรงแรมพังงาเบย์รีสอร์ท อำเภอเมือง จังหวัดพังงา มีเรือนำเที่ยวหลายขนาด ถ้าเดินทางมาเป็นคณะใหญ่ควรลงเรือที่ท่านี้ เพราะมีเรือขนาดใหญ่คอยบริการ

ท่าเรือสุระกุล หรือท่าเรือกระโสม ในอำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา มีเรือให้เช่าขนาดนั่งได้ 21 – 30 คน

ท่าเรือในบริเวณอุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา มีเรือเร็ว บริการ




ขอขอบคุณข้อมูลจาก
และ อบต.เกาะปันหยี